Description
Digital Data
TITLE:
ลำพูน
AUTHOR:
หอภาพถ่ายล้านนา ,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
KEYWORDS:
กัณฑ์ที่ 7, กัณฑ์มหาพล, จิตรกรรมบนผืนผ้า, ชาดก, ชูชก, ตำบลเวียงยอง, ตุงค่าว, ตุงค่าวธรรม, ถุงย่าม, นุ่งผ้าต้อย, นุ่งโจงกระเบน, ประวัติศาสตร์ภาพเขียน, ประวัติศาสตร์ล้านนา, ประวัติศาสตร์ลำพูน, ประเทศไทย, พระบฏ, พระเวสสันดรชาชก, ภาคเหนือ, ภาพถ่ายจิตรกรรม, ภาพพระบฏ, ภาพเขียนบนผืนผ้า, ภาพเขียนสีฝุ่นบนผืนผ้า, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ฤๅษี, ล้านนา, ลำพูน, วัดพระยืนพุทธบาทยุคล (วัดพระยืน), สถาปัตยกรรมแบบล้านนา, สะหว้ายแล่ง, หอภาพถ่ายล้านนา, อัจจุตฤๅษี, อาศรม, อาศรมอัจจุตฤๅษี, อำเภอเมืองลำพูน, เค็ดม้าม, เวสสันดรชาดก, โจงกระเบน
DESCRIPTION:
ภาพวาดแผ่นนี้เป็นเรื่องกัณฑ์ที่ 7 กัณฑ์มหาพล เป็นกัณฑ์ป่าใหญ่ ชูชกหลอกล่ออัจจุตฤๅษีให้บอกทางสู่อาศรมพระเวสสันดรแล้วก็รอนแรมเดินไพรไปหา เมื่อถึงอาศรมฤๅษี ชูชกได้พบกับอัจจุตฤๅษี ชูชกใช้คารมหลอกล่อจนอัจจุตฤๅษี ให้ที่พักหนึ่งคืนและบอกเส้นทางไปยังอาศรมพระเวสสันดร อัจจุตฤๅษีอาศัยอยู่ในเรือนที่มีรูปแบบของสถาปัตยกรรมแบบล้านนา คือเป็นเรือนยกพื้นสูง หลังคาปีกนกสองชั้น มีลวดลายแกะสลักที่หน้าจั่ว
PUBLISHER:
หอภาพถ่ายล้านนา ,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
OTHER CONTRIBUTORS:
สาขาวิชาศิลปะการถ่ายภาพ ภาควิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
DATE:
08/04/2562
RESOURCE TYPE:
จิตรกรรมฝาผนัง
FORMAT:
Image/jpeg
RESOURCE IDENTIFIER:
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิหอภาพถ่ายล้านนา ในกำกับของกรรมการอำนวยการหอภาพถ่ายล้านนา
SOURCE:
จิตรกรรมฝาผนัง
LANGUAGE:
ไทย/อังกฤษ
RELATION:
พระบฏ คือ ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้นและแขวนไว้เพื่อบูชา คำว่า บฏ มาจากคำในภาษาบาลีว่า ปฏ (อ่านว่า ปะ-ตะ) แปลว่า ผ้าทอ หรือ ผืนผ้า ส่วนมากเป็นผ้าแถบยาว มีวาดภาพพระพุทธเจ้า นิยมแขวนไว้ในสถานที่จัดพิธีกรรมในพุทธศาสนา ใช้แทนที่พระพุทธรูป เพื่อเป็นที่เคารพบูชา ในล้านนาเรียกกันว่า “ตุงค่าว” หรือ ตุงค่าวธรรม ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น เทศน์มหาชาติ เเละตั้งธรรมหลวง เป็นต้น |
COVERAGE:
RIGHT MANAGEMENT:
หอภาพถ่ายล้านนา ,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Physical Data
COLLECTION NAME:
ลำพูน
IMAGE CODE:
02_28_20190617_MR28-01_13
SUBJECT AGE:
ประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ 25
CATEGORY:
ภาพจิตรกรรมบนผืนผ้า (พระบฏ)
PROVENANCE:
รองศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์
COVERAGE:
ORIGINAL SIZE:
147 x 86 cm.
DIGITAL SIZE:
2525 x 4000 Pixels